Ads 468x60px

วันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2554

รวมคำสั่ง Unix Solaris ตอนที่ 3 (การ set ค่า nvram ขณะอยู่บน OS solaris)

การ set ค่า nvram ขณะอยู่บน OS solaris

# eeprom ตัวแปร=newvalue เช่น
# eeprom diag-switch?=true คำสั่งเกี่ยว File & Folder
# pwd ดูว่าเราอยู่ path/directory ไหน
# touch ไฟล์ สร้าง file
# mkdir dir สร้าง directory
# cp เป็นการ copy file
# cp aaa bbb เป็นการ สำเนา ไฟล์ aaa ไว้ 1 ฉบับ ชื่อไฟล์ว่า bbb
# cp –r เป็นการ copy directory
# mv aaa bbb เปลี่ยนชื่อ ไฟล์ aaa เป็น ไฟล์ bbb
# rm file ลบไฟล์
# rm –r dir ลบ directory
# wc file นับจำนวนบรรทัด , คำ ในไฟล์นั้นๆ 

การเปลี่ยน Permission
# chmod 777 file or folder เป็นการเปลี่ยน permission ของ file หรือ folder นั้นๆ โดย ลำดับของตัวเลขเป็นดังนี้  user(owner)groupother
# chmod u+w file or folder  เพิ่มว่าให้ owner สามารถ write ได้
# chmod g+x file or folder 
เพิ่มว่าให้ group สามารถ execute ได้
# chmod o+w file or folder เพิ่มว่าให้ other สามารถ write ได้
# chmod ugo+x file or folder เพิ่มว่าให้ทั้ง owner group other สามารถ write ได้

ACL (Acess Control List)
คือการกำหนดให้บาง user สามารถเข้ามา access file,folder ได้ตามสิทธิ์ที่เรากำหนดให้
# getfacl file เป็นการดูว่าใครเป็นเจ้าของ file และใครสามารถเข้ามาใช้ file นี้ได้ บ้าง
# setfacl –m mask:6 file  กำหนดค่า mask ของ file ว่าให้ เป็น 6 คือ 110 คือ read/write ได้ค่า mask มีความสัมพันธ์กับ permission ของ group
# setfacl –m user:user8:6 file  เป็นการอนุญาต ให้ usesr8 เข้ามาใช้งาน(read/write) file นี้ได้ โดยให้ดูด้วยว่า ค่า mask (-m) ของ  file นี้สามารถ read/write ได้จริงหรือไม่
# setfacl –d user:user8 file  เป็นการยกเลิก user8 ออกจากการใช้สิทธิ์ access file


ดูขนาด File & Directory
# du  /dir


คำสั่งเกี่ยวกับเวลา (Time)
File ที่เกี่ยวข้อง

# date เป็นคำสั่งในการแสดงวันที่และเวลา
# date
เดือน วันที่ ชั่วโมง นาที ปีค.ศ. เป็นการตั้งวันที่และเวลา เช่น# date 080614302004 
# cal  month year ดูปฏิทิน เดือนปีนั้นๆ
ารสั่งให้ระบบทำงานตามคำสั่งในเวลาที่ต้องการ
# at time am or pm เช่น
# at 9:30 am                             จะมี promt ขึ้นให้ใส่คำสังที่ต้องการให้ทำ
   >banner new 9:30 am           โดยคำสั่งนี้จะทำเพียงครั้งเดียวจบ
   >ctrl+d                                   เมื่อสิ้นสุดคำสั่งที่ต้องการให้กด ctrl+d เพื่อออกจาก promt

# crontab –e  เป็นการสั่งคำสั่งเข้าไปใน File crontab เพื่อกำหนดการทำงานล่วงหน้าตามเวลาที่ต้องการ
# crontab –e   จะมี promt ขั้นมา ให้ใส่
     > นาที  ชั่วโมง  วันที่  เดือน วันของสัปดาห์(0-6) คำสั่ง เช่น
   
 > 30 9 * * 0  who    ทำคำสั่ง who ทุกวันอาทิตย์ เวลา 9:30

     >ctrl+d                    ออก
 
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการ Disk

 File ที่เกี่ยวข้อง
 /etc/format.dat เก็บรายละเอียดการแบ่ง patition
 /dev/dsk, /dev/md/dsk, /dev/vx/dsk  เก็บชื่อ disk device
# format ดูรายการ Harddisk ที่ต่ออยู่กับเครื่องทั้งหมด
# format cxtxdx  ดูเฉพาะ disk ก้อนนั้นๆ
# newfs /dev/rdsk/cxtxdxsx  ล้างและจัดเรียง block ของ Harddisk ใหม่ (ข้อมูลหาย)
#
newfs  /dev/md/rdsk/d0 สำหรับ metadevice ของ disksuit
# newfs /dev/vx/rdsk/mydg/vol01 สำหรับ volume disk
# prtvtoc /dev/dsk/cxtxdxs2 /vtoc  เป็นการจัดเก็บ vtoc ของ disk ก้อนนั้นๆ (ต้องเป็น s2 เท่านั้น)
# fmthard –s /vtoc /dev/rdsk/cxtxdxs2 เป็นการเขียน vtoc ลง disk อีกก้อน(ขนาด disk ต้องเท่ากันหรือมากกว่า)
# fsck –F ufs /dev/rdsk/cxtxdxsx เป็นการ file systemcheck เพื่อให้ disk ตรวจสอบจุดเสียหายต่างๆ
# df –k  ดูว่า มีการmount disk ก้อนใดไปใช้บ้าง mountไว้ที่ไหน ใช้เนื้อที่ไปเท่าไร และเหลือเนื้อที่เท่าไร (kb)

การ clone disk / slice
# dd if=/dev/rdsk/cxtxdxs2 of=/dev/rdsk/cxtxdxs2  bs=1048576
# ufsdump –f /dev/dsk/cxtxdxsx |(cd /pathmountdisk2 ; ufsrestore rf -)

คำสั่งเกี่ยวกับ Networks
File ที่เกี่ยวข้อง
- /etc/nodename เก็บชื่อเครื่อง
- /etc/hosts เก็บชื่อเครื่องและ IP Address
- /etc/hostname.hme0 หรือ network card ชื่ออื่นๆ  เก็บชื่อเครื่องประจำ network card นั้นๆ
- /etc/netmasks เก็บเลข netmask
- /etc/ethers เก็บ  mac address
* การเปลี่ยนชื่อเครื่อง ต้องเปลี่ยนทั้ง 3 ไฟล์คือ /etc/nodename , /etc/hosts , /etc/hostname.hme0
- Folder /etc/inet ทั้ง Folder
- /etc/inet/inetd.conf  ** เปิดปิดการ telnet และ FTP และดูวิธีการ start , stop deamon ได้ที่ไฟล์นี้
  เมื่อเปลี่ยนแปลง config ในไฟล์นี้แล้วต้องทำการ # pkill –HUP inetd ทุกครั้ง
- /etc/services เป็นไฟล์ในการเก็บ Port ในการ login ต่างๆ
- /etc/rpc เก็บโปรแกรมที่ใช้ได้กับ Port sunrpc (port 111)
Deamon ที่ใช้
In.telnetd  , inetd
# pkill -1 inetd
# /usr/sbin/in.telnetd    เป็นคำสั่งในการ start deamon
# /etc/sbin/in.rarpd       เป็น deamon ของ arp และ rarp

# pkill –HUP inetd  เป็นการ kill process นั้นแล้ว start process นั้นขึ้นมาใหม่
# ifconfig hme1 plumb IP  netmask + boardcast + up เป็นการติดตั้ง nic ใหม่ ใส่ ip ด้วย
# ifconfig hme1 unplumb คื่อการถอดการใช้งาน interface card นั้นออกจากระบบ
# ifconfig –a  ดู IP เครื่องเรา Interface เครื่องเรา เช่น hme0, qfe0,le0 เป็นต้น(NIC)
# ifconfig hme0 down  คือการ drop ip และ interface นั้นๆ ลงชั่วคราว
# ifconfig hme0 up คือการ up ip และ interface นั้นขึ้นมาใช้งาน
# ifconfig hme0 ether newmacaddress  เปลี่ยน mac address
# ifconfig hme0:1 plumb 202.20.105.28 up สร้าง virtual  interface
# ifconfig hme0 removeif 202.20.105.28 ลบ virtual interface

การเปลี่ยน IP ของเครื่อง
# ifconfig hme0 inet 202.20.105.28 netmask 255.255.255.0 broadcast+up
คำว่า broadcast+up คือการให้ broadcast แปรผันตามค่า netmask
# snoop hostname1 hostname2 เช่น
# snoop sun1 sun2  เป็นคำสั่งในการดูการทำงานแบบ OSI model ระหว่าง 2 เครื่องนั้นๆ
# snoop –v sun1 sun2 ดูการทำงาน OSI แบบ ละเอียด
# snoop –o /filename สั่งให้เก็บ log ของการ ping หรือการ spray ไว้ที่ไฟล์ที่กำหนด
# snoop –I /filename –v |more เป็นการดู log ที่เก็บไว้
# snoop –V ดู OSI แบบคร่าว
# snoop tcp  การดูเฉพาะสิ่งที่ต้องการ
# snoop port telnet            “
# snoop port 23                “
# ping ipเครื่องปลายทาง เป็นการทำสอบการเชื่อมต่อ network ระหว่างเครื่องเรา กับเครื่องปลายทาง
# spray hostname or IP  คล้ายคำสั่ง ping แต่จะให้รายละเอียดมากกว่า
# rpcinfo –d sprayd 1 เป็นการหยุดการทำงาน sprayd ลงชั่วคราว
# arp –a  ดูตาราง mac address ที่เก็บอยู่ในเครื่องเรา
# arp –s hostname mac address  คือการ add ชื่อเครื่องและ maxaddress เข้าในตารางของเครื่องเรา
# arp –d hostname  เป็นการลบชื่อ host นั้นออกจากเครื่องเรา
# netstat –p ดู max address ทุกเครื่องที่เห็น
# netstat –d ดูว่าเครื่องเปิด port อะไรอยู่บ้าง
# netstat –I time ดูการทำงาน ของ NIC  time คือดูทุกๆ กี่วินาที
# netstat –r คือการดู rounting table

ชื่อของ network interface card ที่ใช้กับเครื่อง sun
- ATM  =  .bax0…1….2
- Ethernet = .le , qe0…1…2
- Fast Ethernet = hme, eri0…1…2
- Quatfast Ethernet = qfe0…1…2
- FDDI = nf0…1…2
- Tokenring = tr0…1…2
- Gigabit Ethernet = ge0…1…2
ARP = คือการแปลงจาก IP เป็น Mac address
RARP = คือการแปลงจาก Mac address เป็น IP
Tape management

Tape Management


Tape drive มี path ของ device ดังนี้คือ
- /dev/rmt/0 , /dev/rmt/1 , /dev/rmt/2 ………แล้วแต่การเชื่อมต่อ

ขนาดของ Media (ม้วนเทป) ที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันมีอยู่ 3 ขนาดคือ
- Tape 4 มิลลิเมตร คือมีความกว้างของหน้า Tape 4 มิลลิเมตร ใช้กับ Drive ขนาด 4 มิลลิเมตร เช่น
 
DDS, DDS2,DDS3,DDS4
- Tape 8 มิลลิเมตร คือมีความกว้างของหน้า Tape 8  มิลลิเมตร ใช้กับ Drive ขนาด 8 มิลลิเมตร
- Tape 16 มิลลิเมตร คือมีความกว้างของหน้า Tape 16  มิลลิเมตร ใช้กับ Drive ขนาด  16 มิลลิเมตร เช่น DLT ต่างๆ

การเขียนข้อมูลของ Tape จะเขียนเป็น block โดยจะเขียนเรียงกันไปเรื่อยๆ จนกว่าจะสิ้นสุดความยาวของม้วนการทำคำสั่ง 1 ครั้งจะเขียนเป็น 1 block ดังภาพ



การกรอ Tape ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ
# mt stat เป็นการดูสถานะของ  Tape ว่าตอนนี้หัวอ่านอยู่ที่ block ใดของ Tape
# mt fsf 1 เป็นการ forward หัวอ่าน Tape ไปข้างหน้าจาก block เดิม 1 block
# mt rew เป็นการ rewind หัวอ่าน Tape ให้กลับไปที่ต้นม้วน
# mt off
 เป็นการ Eject media ออกจาก Tape drive
# mt eom เป็นการforwardหัวอ่านไปยังท้ายสุดของข้อมูลที่มี เพื่อเตรียมเขียนข้อมูลต่อไปได้โดยไม่ทับข้อมูลเดิม

Format ที่ใช้คำสั่ง tar
การ Backup
# tar cvf /dev/rmt/0 /file,folder เป็นการ backup file , folder ขึ้นสู่  Tape เมื่อเขียนข้อมูลเสร็จแล้วหัวอ่านจะ  rewind กลับไปต้นม้วน
# tar cvf /dev/rmt/0n /file,folder
เป็นการ backup file, folder ขึ้นสู่  Tape โดยหัวอ่านจะหยุดอยู่ที่ที่สิ้นสุด block  นั้นๆ ไม่ rewind กลับไปต้นม้วน (ใส่ n คือ no rewind)

การดูข้อมูลที่อยู่บน Tape
# tar tvf /dev/rmt/0  เป็นการดูข้อมูลที่อยู่บน  Tape block นั้นๆ

การ restore ข้อมูล
# tar xvf /dev/rmt/0 เป็นการดึงข้อมูลจาก Tape ลงสู่ directory ที่อยู่ ณ ขณะนั้น (restore)

Fomat ที่ใช้คำสั่ง  ufsdump

การ Backup
# ufsdump 0ufc /dev/rmt/0 /file,folder  เป็นการ Backup file,folder ขึ้นสู่  Tape และเมื่อเขียนข้อมูลเสร็จ Tape จะ rewind กลับสู่ต้นม้วน
# ufsdump 0ufc /dev/rmt/0n /file,folder  เป็นการ Backup file,folder ขึ้นสู่  Tape เมื่อเขียนข้อมูลเสร็จจะไม่มีการ rewind Tape หัวอ่านจะหยุดอยู่ ณ ที่ที่สิ้นสุดข้อมูลนั้นๆ

กรรดูข้อมูลบน Tape
# ufsrestore tf  /dev/rmt/0 เป็นการดูข้อมูลใน block นั้นๆ

การ restore ข้อมูล
# ufsrestore rf /dev/rmt/0 เป็นการ restore ข้อมูลใน block นั้นๆ ทั้งหมดลงสู่ directory ที่อยู่ ณ ขณะนั้น
# ufsrestore –i /dev/rmt/0 จะมี promt ขึ้นให้(เข้าสู่ ข้อมูลบน  Tape แล้ว)
>./siwanat
>ls
yao  file1 file2
เป็นการเข้าไปดูข้อมูลบน Tape ในแต่ละ block นั้นๆ  ได้ โดย การ cd , ls และเมื่อต้องการ restore file ใดๆ สามารถใช้คำสั่ง add file1  เพื่อ mark file นั้นๆ ไว้ เมื่อ mark หรือเลือก file ที่ต้องการครบแล้ว สามารถ ดูไฟล์ที่เรา mark ไว้ได้ด้วยคำสั่ง marked จะสังเกตเห็น  file ที่เรา mark ไว้มีเครื่องหมาย * ข้างหน้า และเมื่อต้องการ restore สามารถทำได้ด้วยคำสั่ง extract   ไฟล์ที่เรา mark ไว้ก็จะถูก restore ลงสู่ directory นั้นๆ

Option
ของคำสั่ง ufsdump
-  0 – 6
เป็น level ในการ backup โดยการ Backup แต่ละ level จะ  backup หลังจาก level ที่ต่ำกว่าเคยทำการ backup ไปแล้ว เช่น วันจันทร์ backup ด้วย level 1 วันพุธ backup ด้วย level 2 ดังนั้น วันพุธจะเป็นการ backup ข้อมูลหลังจากวันจันทร์เป็นต้นมา
-
u คือ update
- f
คือการอ้าง path ของ Tape drive     

- c คือ compact คือมีการบีบอัดข้อมูลด้วย

รวมคำสั่ง Unix Solaris ตอนที่ 2 (การ Mount & Share )

การ Mount & Share (Ufs)

File
ที่เกี่ยวข้อง
/etc/mnttab  เก็บข้อมูลการ mount, umount
/etc/umount  umountall
/etc/vfstab  เก็บสิ่งที่ mount ถาวร ประกอบด้วย 7 field คือ
 
|/dev/dsk/cxtxdxsx|/dev/rdsk/cxtxdxsx|/mydisk       |     ufs    |  1   |yes    |mount opt     |
|device to mount   |    device to fsck   |mount point|FS type|fsck |pass |mout at boot |
# mount device mountpoint 
เป็นการ mount เนื้อที่ disk มาใช้งาน โดยตัวอย่าง disk device มีดังนี้

# mount /dev/dsk/c0t1d0s0 /mydisk  
เป็นการ mount device มาใช้งานที่ folder mydisk : disk device ธรรมดา
 
# mount /dev/md/dsk/d0 /mydisk
เป็นการ mount metadevice มาใช้งานที่ folder mydisk : metadevice ( เป็น device ที่ถูกสร้างขึ้นจาก soltice disk suit )

# mount /dev/vx/dsk/groupname/volumename  
/mydisk เป็นการ mount device ที่เป็น volume มาใช้งาน : device volume (เป็น device ที่สร้างขึ้นจาก volume manager)

# mountall 
เป็นการสั่งให้ระบบอ่าน file /etc/vfstab อีกครั้ง และ field mount at boot ต้องเป็น yes

# mount –r
เป็นการสั่งให้ระบบอ่าน file /etc/vfstab ที่ FS type เป็น nfs และ mount at boot เป็น yes

# umount  /mydisk 
เป็นการยกเลิกการ mount ที่ mountpoint /mydisk
 
# umountall 
เป็นการยกเลิกการmount ที่ไม่ใช่การ mount แบบถาวร

# umountall –r 
ยกเลิกการ mount แบบ nfs
 
# umount –f /mydisk
เป็นการยกเลิกการ mount โดยไม่สนใจสิ่งใดทั้งสิ้น

# fuser –c /mydisk
เป็นการยกเลิก process ที่ถูก mount อยู่
 
# rmmount
ยกเลิกการ mount cdrom
***  /etc/init.d/volmgt start  เป็นการ start deamon ของ cdrom
 
# pkill -9 vold 
เป็นการ kill deamon ของ cdrom

# volcheck
เช็ค cdrom (refresh)
 
# mount –F hsfs –o ro /dev/dsk/c0t6d0s0 /cdrom 
เป็นการ mount cdrom
 
# mount –F pcfs /dev/diskette /diskette
เป็นการ mount diskette

Mount & share (NFS)

File ที่เกี่ยวข้อง
/etc/dfs/dfstab  เป็นไฟล์ในการ share เก็บสิ่งที่เรา share
/etc/vfstab        เมื่อ mount มาจากเครื่องอื่น เปลี่ยนจาก ufs เป็น nfs
/etc/rmtab        จะถูกอ่านโดยคำสั่ง  # dfmounts
/etc/sharetab   จะถูกอ่านโดยคำสั่ง # share, # shareall, # unshareall เก็บสิ่งที่แชร์ชั่วคราว

Deamon ที่ใช้ในการรัน
Deamon mountd  จะไปอ่าน ที่ /etc/mnttab ของ client ทุกตัว
Deamon ฝั่ง Server ได้แก่ nfsd, statd, lockd
Deamon client  –statd, lockd

การ Start Deamon
# /etc/init.d/nfs.server start
# /etc/init.d/nfs.client start

# dfshares  Servername  
ดูว่า Server ดังกล่าวแชร์อะไรอยู่บ้าง

# dfmounts Servername  
ดูว่า Server ดังกล่าวถูกใคร mount ใช้งานอยู่บ้าง

# share  /pathname   
เป็นการ share ใช้งานชั่วคราว

# share   
คือดูว่าเรา share อะไรอยู่บ้าง

# shareall   
จะไปอ่านที่  /etc/dfs/dfstab แล้วทำการ share สิ่งที่เรากำหนดไว้

# unshareall  
จะไปอ่านที่ /etc/dfs/dfstab  และ unshare สิ่งที่ไม่ได้ mount แบบถาวร

# share –F nfs –o ro,rw=sun1;sun2 /path   
เป็นการ share และใส่ option ด้วย (sun1,sun2 write ได้) ถ้า share ถาวรให้นำไปวางไว้ที่ /etc/dfs/dfstab

# mount sun12:/usr/share/man     
/path ของเราเป็นการ mount ข้อมูลจากเครื่องอื่นมาใช้งาน ถ้าทำเป็น mount ถาวร ให้นำไปเขียนไว้ที่ /etc/vfstab และเปลี่ยน fstype เป็น  nfs

 Autofs (mount & share)

คือการconfigให้ mountอัตโนมัติเมื่อมีการเข้ามาaccess และ umount อัตโนมัติภายในเวลาที่กำหนดเมื่อไม่มีการใช้งาน
- File ที่เกี่ยวข้อง
* ฝั่ง Server
- /etc/dfs/dfstab  เป็นไฟล์ที่เก็บสิ่งที่เราต้องการ share มีรูปแบบดังนี้
    Share –F nfs –o rw /path(ที่จะshare)
* ฝั่ง client
- /etc/auto_master เป็น file ที่จะชี้ไปยัง file ที่กำหนดสิ่งที่ต้องการ automount เช่น file auto_direct เป็นต้น มีรูปแบบดังนี้
   +auto_master 
   /net               -hosts
   /home           auto_home      -nobrowse
  /-                    auto_direct

Field ที่ 1
+ ข้างหน้าคือ ใช้กับ name service ได้
/ ข้างหน้าคือการ map แบบ indirectmap
/- ข้างหน้าคือการ map แบบ directmap
Field ที่ 2
มี – ข้างหน้าคือ specialmap
    File ใน field ที่ 2 คือ file ที่ให้ไปเช็คว่าใน file นั้น ต้องการ mount อะไรจาก  server บ้าง
- /etc/auto_direct (ต้องสร้างขึ้นมาเอง) เป็น file ที่กำหนดว่า client ต้องการ mount อะไรมาจาก server บ้างรูปแบบดังนี้
/pathmountpoint          options                        servername:/pathshare
เช่น
 /siwanat          rw        sun1:/yao_share
 ** path mountpoint ต้องใส่แบบ fullpath
- /etc/auto_home
การรัน Deamon ที่ใช้
/etc/init.d/autofs start  ,  stop
/etc/init.d/nfs.server start , stop    ……ฝั่ง server
/etc/init.d/nfs.client start , stop     ……ฝั่ง client

# automount –t 600 เป็นการสั่งกำหนดเวลา umount เมื่อไม่มีการ access
# automount –v  เป็นการสั่งให้สิ่งที่ config ไว้ ให้ effective



คำสั่งที่ OK Promt
Ok banner ดูรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องบางส่วน เช่น cpu , memory , promt version
Ok printenv   แสดงค่า config ต่างๆ ที่ถูกกำหนดไว้
Ok show-disks  แสดง การ์ด controller ที่ต่อกับ disk หรือ storage
Ok show-devs แสดง device ทั้งหมด
Ok show-nets คือการดู network interface card ของเครื่อง
Ok watch-nets คือการ test การทำงานของ network interface card onboard
Ok watch-net-all คือการ test การทำงานของ network interface card ทุกตัวที่มี
Ok setenv ตัวแปร newvalue  เป็นการ กำหนดค่าให้กับตัวแปรที่ต้องการ แล้วใส่ค่าใหม่เข้าไปเช่น
Ok setenv diag-switch? True  เป็นการเซ็ทค่า diag-switch? ให้เป็น true
Ok probe-scsi   เป็นการดู scsi device ที่ต่ออยู่กับ internal และ onboard controller(ไม่รวมการ์ด scsi)
Ok probe-scsi-all  เป็นการดู scsi device ที่ต่ออยู่ทั้งหมด (รวมทั้งบนการ์ด scsi ด้วย )
Ok probe-ide ใช้กับเครื่องที่มี device เป็นแบบ ide เพื่อดู device ที่ต่ออยู่ เช่น เครื่อง ultra 10 เป็นต้น
Ok nvalias ชื่อย่อ  ชื่อเต็มของ device เป็นการย่อชื่อ device ที่ยาวๆ ให้สั้นเพื่อนำไปใช้ในการ set ค่าได้ง่าย
Ok nvedit ชื่อย่อ   ชือเต็มที่ต้องการเปลี่ยน  แก้ไจเปลี่ยน alias ของ device
Ok devalias ชื่อย่อ  เป็นการดูว่า ชื่อย่อที่เราตั้งไว้ มีชื่อหรือ device เต็มว่าอย่างไร
Ok boot device เป็นการสั่งให้ boot ที่ device นั้นๆ
Ok boot –r  เป็นการสั่ง boot และ reconfig device ด้วย
Ok boot –s เป็นการสั่ง boot เข้าสู่  single mode
Ok boot –a เป็นการสั่ง boot ทีละ step
Ok boot –v เป็นการสั่ง boot และดูขั้นตอนการทำงานต่างๆ ด้วย
Ok boot cdrom –sw เป็นการสั่ง boot cdrom แบบ single mode
Ok reset    เป็นการสั่งให้เก็บค่าและกระทำสิ่งที่เราได้ config เข้าไป
Ok reset-default เป็นการ reset ค่าให้กลับไปเป็นดังที่ควรจะเป็นแต่เดิม
Ok reset-all  เป็นการสั่งให้เก็บค่าและกระทำสิ่งที่เราได้ config เข้าไป (สำหรับ promp version 4 ขึ้นไป)

Blogger templates