Ads 468x60px

วันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2554

รวมคำสั่ง Unix Solaris ตอนที่ 2 (การ Mount & Share )

การ Mount & Share (Ufs)

File
ที่เกี่ยวข้อง
/etc/mnttab  เก็บข้อมูลการ mount, umount
/etc/umount  umountall
/etc/vfstab  เก็บสิ่งที่ mount ถาวร ประกอบด้วย 7 field คือ
 
|/dev/dsk/cxtxdxsx|/dev/rdsk/cxtxdxsx|/mydisk       |     ufs    |  1   |yes    |mount opt     |
|device to mount   |    device to fsck   |mount point|FS type|fsck |pass |mout at boot |
# mount device mountpoint 
เป็นการ mount เนื้อที่ disk มาใช้งาน โดยตัวอย่าง disk device มีดังนี้

# mount /dev/dsk/c0t1d0s0 /mydisk  
เป็นการ mount device มาใช้งานที่ folder mydisk : disk device ธรรมดา
 
# mount /dev/md/dsk/d0 /mydisk
เป็นการ mount metadevice มาใช้งานที่ folder mydisk : metadevice ( เป็น device ที่ถูกสร้างขึ้นจาก soltice disk suit )

# mount /dev/vx/dsk/groupname/volumename  
/mydisk เป็นการ mount device ที่เป็น volume มาใช้งาน : device volume (เป็น device ที่สร้างขึ้นจาก volume manager)

# mountall 
เป็นการสั่งให้ระบบอ่าน file /etc/vfstab อีกครั้ง และ field mount at boot ต้องเป็น yes

# mount –r
เป็นการสั่งให้ระบบอ่าน file /etc/vfstab ที่ FS type เป็น nfs และ mount at boot เป็น yes

# umount  /mydisk 
เป็นการยกเลิกการ mount ที่ mountpoint /mydisk
 
# umountall 
เป็นการยกเลิกการmount ที่ไม่ใช่การ mount แบบถาวร

# umountall –r 
ยกเลิกการ mount แบบ nfs
 
# umount –f /mydisk
เป็นการยกเลิกการ mount โดยไม่สนใจสิ่งใดทั้งสิ้น

# fuser –c /mydisk
เป็นการยกเลิก process ที่ถูก mount อยู่
 
# rmmount
ยกเลิกการ mount cdrom
***  /etc/init.d/volmgt start  เป็นการ start deamon ของ cdrom
 
# pkill -9 vold 
เป็นการ kill deamon ของ cdrom

# volcheck
เช็ค cdrom (refresh)
 
# mount –F hsfs –o ro /dev/dsk/c0t6d0s0 /cdrom 
เป็นการ mount cdrom
 
# mount –F pcfs /dev/diskette /diskette
เป็นการ mount diskette

Mount & share (NFS)

File ที่เกี่ยวข้อง
/etc/dfs/dfstab  เป็นไฟล์ในการ share เก็บสิ่งที่เรา share
/etc/vfstab        เมื่อ mount มาจากเครื่องอื่น เปลี่ยนจาก ufs เป็น nfs
/etc/rmtab        จะถูกอ่านโดยคำสั่ง  # dfmounts
/etc/sharetab   จะถูกอ่านโดยคำสั่ง # share, # shareall, # unshareall เก็บสิ่งที่แชร์ชั่วคราว

Deamon ที่ใช้ในการรัน
Deamon mountd  จะไปอ่าน ที่ /etc/mnttab ของ client ทุกตัว
Deamon ฝั่ง Server ได้แก่ nfsd, statd, lockd
Deamon client  –statd, lockd

การ Start Deamon
# /etc/init.d/nfs.server start
# /etc/init.d/nfs.client start

# dfshares  Servername  
ดูว่า Server ดังกล่าวแชร์อะไรอยู่บ้าง

# dfmounts Servername  
ดูว่า Server ดังกล่าวถูกใคร mount ใช้งานอยู่บ้าง

# share  /pathname   
เป็นการ share ใช้งานชั่วคราว

# share   
คือดูว่าเรา share อะไรอยู่บ้าง

# shareall   
จะไปอ่านที่  /etc/dfs/dfstab แล้วทำการ share สิ่งที่เรากำหนดไว้

# unshareall  
จะไปอ่านที่ /etc/dfs/dfstab  และ unshare สิ่งที่ไม่ได้ mount แบบถาวร

# share –F nfs –o ro,rw=sun1;sun2 /path   
เป็นการ share และใส่ option ด้วย (sun1,sun2 write ได้) ถ้า share ถาวรให้นำไปวางไว้ที่ /etc/dfs/dfstab

# mount sun12:/usr/share/man     
/path ของเราเป็นการ mount ข้อมูลจากเครื่องอื่นมาใช้งาน ถ้าทำเป็น mount ถาวร ให้นำไปเขียนไว้ที่ /etc/vfstab และเปลี่ยน fstype เป็น  nfs

 Autofs (mount & share)

คือการconfigให้ mountอัตโนมัติเมื่อมีการเข้ามาaccess และ umount อัตโนมัติภายในเวลาที่กำหนดเมื่อไม่มีการใช้งาน
- File ที่เกี่ยวข้อง
* ฝั่ง Server
- /etc/dfs/dfstab  เป็นไฟล์ที่เก็บสิ่งที่เราต้องการ share มีรูปแบบดังนี้
    Share –F nfs –o rw /path(ที่จะshare)
* ฝั่ง client
- /etc/auto_master เป็น file ที่จะชี้ไปยัง file ที่กำหนดสิ่งที่ต้องการ automount เช่น file auto_direct เป็นต้น มีรูปแบบดังนี้
   +auto_master 
   /net               -hosts
   /home           auto_home      -nobrowse
  /-                    auto_direct

Field ที่ 1
+ ข้างหน้าคือ ใช้กับ name service ได้
/ ข้างหน้าคือการ map แบบ indirectmap
/- ข้างหน้าคือการ map แบบ directmap
Field ที่ 2
มี – ข้างหน้าคือ specialmap
    File ใน field ที่ 2 คือ file ที่ให้ไปเช็คว่าใน file นั้น ต้องการ mount อะไรจาก  server บ้าง
- /etc/auto_direct (ต้องสร้างขึ้นมาเอง) เป็น file ที่กำหนดว่า client ต้องการ mount อะไรมาจาก server บ้างรูปแบบดังนี้
/pathmountpoint          options                        servername:/pathshare
เช่น
 /siwanat          rw        sun1:/yao_share
 ** path mountpoint ต้องใส่แบบ fullpath
- /etc/auto_home
การรัน Deamon ที่ใช้
/etc/init.d/autofs start  ,  stop
/etc/init.d/nfs.server start , stop    ……ฝั่ง server
/etc/init.d/nfs.client start , stop     ……ฝั่ง client

# automount –t 600 เป็นการสั่งกำหนดเวลา umount เมื่อไม่มีการ access
# automount –v  เป็นการสั่งให้สิ่งที่ config ไว้ ให้ effective



คำสั่งที่ OK Promt
Ok banner ดูรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องบางส่วน เช่น cpu , memory , promt version
Ok printenv   แสดงค่า config ต่างๆ ที่ถูกกำหนดไว้
Ok show-disks  แสดง การ์ด controller ที่ต่อกับ disk หรือ storage
Ok show-devs แสดง device ทั้งหมด
Ok show-nets คือการดู network interface card ของเครื่อง
Ok watch-nets คือการ test การทำงานของ network interface card onboard
Ok watch-net-all คือการ test การทำงานของ network interface card ทุกตัวที่มี
Ok setenv ตัวแปร newvalue  เป็นการ กำหนดค่าให้กับตัวแปรที่ต้องการ แล้วใส่ค่าใหม่เข้าไปเช่น
Ok setenv diag-switch? True  เป็นการเซ็ทค่า diag-switch? ให้เป็น true
Ok probe-scsi   เป็นการดู scsi device ที่ต่ออยู่กับ internal และ onboard controller(ไม่รวมการ์ด scsi)
Ok probe-scsi-all  เป็นการดู scsi device ที่ต่ออยู่ทั้งหมด (รวมทั้งบนการ์ด scsi ด้วย )
Ok probe-ide ใช้กับเครื่องที่มี device เป็นแบบ ide เพื่อดู device ที่ต่ออยู่ เช่น เครื่อง ultra 10 เป็นต้น
Ok nvalias ชื่อย่อ  ชื่อเต็มของ device เป็นการย่อชื่อ device ที่ยาวๆ ให้สั้นเพื่อนำไปใช้ในการ set ค่าได้ง่าย
Ok nvedit ชื่อย่อ   ชือเต็มที่ต้องการเปลี่ยน  แก้ไจเปลี่ยน alias ของ device
Ok devalias ชื่อย่อ  เป็นการดูว่า ชื่อย่อที่เราตั้งไว้ มีชื่อหรือ device เต็มว่าอย่างไร
Ok boot device เป็นการสั่งให้ boot ที่ device นั้นๆ
Ok boot –r  เป็นการสั่ง boot และ reconfig device ด้วย
Ok boot –s เป็นการสั่ง boot เข้าสู่  single mode
Ok boot –a เป็นการสั่ง boot ทีละ step
Ok boot –v เป็นการสั่ง boot และดูขั้นตอนการทำงานต่างๆ ด้วย
Ok boot cdrom –sw เป็นการสั่ง boot cdrom แบบ single mode
Ok reset    เป็นการสั่งให้เก็บค่าและกระทำสิ่งที่เราได้ config เข้าไป
Ok reset-default เป็นการ reset ค่าให้กลับไปเป็นดังที่ควรจะเป็นแต่เดิม
Ok reset-all  เป็นการสั่งให้เก็บค่าและกระทำสิ่งที่เราได้ config เข้าไป (สำหรับ promp version 4 ขึ้นไป)

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Blogger templates